Blogroll
การถ่ายภาพทางดาราศาสตร์
การสอนรายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
ผลการสอบวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว23101 ปีการศึกษา 2560
ภาพกิจกรรม
รวมลิ้งค์ที่น่าสนใจ
- http://www.jpl.nasa.gov/spaceimages
- hubblesite
- sohowww.nascom.nasa.gov
- solar system
- The Rotating Sky Lab
- True ปลูกปัญญา
- ตารางเวลา
- ตำแหน่งขึ้น ตก ดวงอาทิตย์
- ปฎิทินดาราศาสตร์
- ศูนย์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์โลกและดาราศาสตร์
- เวลาดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ขึ้น-ตก
- โปรแกรมทดลองเสมือน PhET
- โปรแกรมเสมือนจริงสำหรับสอนดาราศาสตร์
-
เรื่องล่าสุด
การแสดงทางวิทยาศาสตร์(Science Show)
ความเห็นล่าสุด
หมวดหมู่
สถิติผู้เช้่าชม ปรับปรุง16/1/55
ผู้เยี่ยมชมขณะนี้ : 1
ผู้เยี่ยมชมวันนี้ : 138
ผู้เยี่ยมชมทั้งหมด : 230816
หมายเลขIP:3.237.97.64Feed ที่ไม่รู้จัก
Meta
Category Archives: ไม่มีหมวดหมู่
พันธุวิศวกรรม คือ อะไร
พันธุวิศวกรรม (genetic engineering) คือกระบวนการที่ได้นำความรู้ต่างๆที่ได้จากการศึกษาชีววิทยาระดับโมเลกุล หรือ อณูชีววิทยา (molecular biology) นำมาประยุกต์ใช้ใน การปรับเปลี่ยน, ดัดแปลง, เคลื่อนย้าย, ตรวจสอบ สารพันธุกรรม[ดีเอ็นเอ (DNA)], ยีน(gene) และผลิตภัณฑ์ของสารพันธุกรรมอย่างพวกอาร์เอ็นเอ(RNA)และโปรตีนของสิ่งมีชีวิต เพื่อนำมาใช้ให้เป็นประโยชน์ โดยปกติแล้ว พันธุวิศวกรรม (genetic engineering) จะเป็นการตัดต่อยีน(gene)หรือเป็นการเคลื่อนย้ายยีน (transgenesis)จากสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งใส่เข้าไปกับยีน(gene)ของสิ่งมีชีวิตอีกชนิดหนึ่ง นั่นคือทำให้เกิดการถ่ายทอดของยีน(gene)และลักษณะที่ยีน(gene)นั้นได้ทำการควบคุมอยู่ เพื่อให้สิ่งมีชีวิตที่ถูกนำยีน(gene)ใส่เข้าไป มียีน(gene)ที่มีคุณสมบัติตามที่ต้องการ โดยอาจทำการเพิ่มปริมาณยีน(gene)ขึ้นอีกเพื่อให้มีปริมาณที่มากเพียงพอที่จะนำไปทำให้ได้ผลผลิตมีคุณภาพที่ดีขึ้น และทำให้ได้ปริมาณของผลผลิตที่สูงขึ้นอีกด้วย โดยที่พันธุวิศวกรรม (genetic engineering)อาจจะทำให้เกิดสิ่งมีชีวิตรูปแบบใหม่(novel)ที่อาจไม่เคยปรากฏในธรรมชาติมาก่อน ข้อมูลเพิ่มเติม จากhttps://www.thaibiotech.info/what-is-genetics-engineering.php
Posted in ไม่มีหมวดหมู่
Leave a comment
การโคลนนิ่ง (Cloning)
การโคลนนิ่ง (Cloning) คือ การคัดลอก หรือการทำซ้ำ ให้มีลักษณะเหมือนเดิมทุกประการ การโคลนนิ่ง (Cloning) เป็นกระบวนการสืบพันธุ์โดยไม่อาศัยเพศชนิดหนึ่ง โดยสิ่งมีชีวิตที่ถูกโคลนออกมาจะมีลักษณะทางพันธุกรรม โดยรวมถึงมีลักษณะทางกายภาพ เหมือนกับสิ่งมีชีวิตต้นแบบ หรือ สิ่งมีชีวิตที่มีอยู่ก่อนแล้วทุกประการ โดยคำว่าโคลน (Clone) นั้นมาจากภาษากรีกจากคำว่า “Klone” ซึ่งแปลว่า แขนง กิ่ง ก้าน โดยใช้อธิบายการแบ่งตัวแบบไม่ ตัวอย่างของลักษณะสิ่งมีชีวิตที่ได้จากการโคลนนิ่ง (Cloning)
Posted in ไม่มีหมวดหมู่
Leave a comment
เทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพ หมายถึง การนำเอาความรู้ทางด้านต่างๆของวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้กับสิ่งมีชีวิต หรือชิ้นส่วนของสิ่งมีชีวิต หรือผลผลิตของสิ่งมีชีวิต เพื่อเป็นประโยชน์ต่อมนุษย์ไม่ว่าจะเป็นทางการผลิตหรือทางกระบวนการ ของสินค้าหรือบริการ เพื่อใช้ประโยชน์เฉพาะอย่างตามที่เราต้องการ โดยสามารถใช้ประโยชน์ทางด้านต่างๆ เช่น ด้านการเกษตร ด้านอาหาร ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านทางการแพทย์ ตัวอย่างของผลิตภัณฑ์ทางเทคโนโลยีชีวภาพในชีวิตประจำวัน (ข้อมูลจาก https://www.thaibiotech.info/example-product-biotechnology.php การทำกิ๊ฟท์ (GIFT) เด็กหลอดแก้ว
Posted in ไม่มีหมวดหมู่
Leave a comment
กาแล็กซี่(Galaxy)
กาแล็กซี่ หรือ ดาราจักร หมายถึง ที่รวมของดวงดาว กระจุกดาว เนบิวลา ฝุ่นละออง โดยจะมีรูปร่างแตกต่างกันไป ในจักรวาลมีกาแล็กซีประมาณหนึ่งแสนล้านกาแล็กซี แต่ละกาแล็กซีจะอยู่ห่างกันมาก ระบบสุริยะของเราอยู่ในกาแล็กซีทางช้างเผือก ข้อมูลจาก http://www.lesa.biz/astronomy/galaxy/milkyway-galaxy ประเภทการแล็กซี่ แรงโน้มถ่วงระหว่างกาแล็กซีที่อยู่ใกล้กัน จะส่งผลต่อรูปทรงของกาแล็กซี ทำให้กาแล็กซีมีรูปทรงเปลี่ยนไป
Posted in ไม่มีหมวดหมู่
Leave a comment
เอกภพ (Universe)
เอกภพ (Universe) หรือจักรวาล หมายถึงทั้งหมดทุกสรรพสิ่ง นักดาราศาสตร์พยายามศึกษาว่า เอกภพกว้างใหญ่เพียงใด มีกาแล็กซีอยู่จำนวนเท่าใด ปัจจุบันเราทราบว่า กาแล็กซีไม่ได้กระจายตัวกันในเอกภพ หากแต่อยู่รวมกลุ่มเป็นกระจุก กระจุกกาแล็กซีทั้งหลายกำลังเคลื่อนที่ออกจากโลกในทุกทิศทาง แสดงว่า เอกภพกำลังขายตัว นักดาราศาสตร์ศึกษาอัตราการขยายตัวของเอกภพโดยใช้กฏของฮับเบิล แล้วคำนวณย้อนกลับพบว่า เอกภพมีอายุประมาณ 13,000 ล้านปี ซึ่งอธิบายโดยใช้ทฤษฎีบิกแบง ข้อมูลจาก http://www.lesa.biz/astronomy/universe เอกสารประกอบการสอนเรื่องเอกภพ
Posted in ไม่มีหมวดหมู่
Leave a comment
“นาซา” ชี้“กาแล็กซีแอนโดรเมดา” จะพุ่งชนกาแล็กซีทางช้างเผือกในอีก 4 พันล้านปีข้างหน้า
จากการวิเคราะห์โดยทีมผู้เชี่ยวชาญขององค์การบริหารการบินและอวกาศ แห่งชาติ ( นาซา ) เมื่อวันพฤหัสบดีที่ผ่านมา ระบุความเป็นไปได้ ที่กาแล็กซีแอนโดรเมดา อาจพุ่งเข้าชนกาแล็กซีทางช้างเผือกในอีกราว 4 พันล้านปีข้างหน้า ข้อมูลจาก http://www.nasa.gov/mission_pages/hubble/science/milky-way-collide.html
Posted in ไม่มีหมวดหมู่
Leave a comment