Blogroll
การถ่ายภาพทางดาราศาสตร์
การสอนรายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
ผลการสอบวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว23101 ปีการศึกษา 2560
ภาพกิจกรรม
รวมลิ้งค์ที่น่าสนใจ
- http://www.jpl.nasa.gov/spaceimages
- hubblesite
- sohowww.nascom.nasa.gov
- solar system
- The Rotating Sky Lab
- True ปลูกปัญญา
- ตารางเวลา
- ตำแหน่งขึ้น ตก ดวงอาทิตย์
- ปฎิทินดาราศาสตร์
- ศูนย์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์โลกและดาราศาสตร์
- เวลาดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ขึ้น-ตก
- โปรแกรมทดลองเสมือน PhET
- โปรแกรมเสมือนจริงสำหรับสอนดาราศาสตร์
-
เรื่องล่าสุด
การแสดงทางวิทยาศาสตร์(Science Show)
ความเห็นล่าสุด
หมวดหมู่
สถิติผู้เช้่าชม ปรับปรุง16/1/55
ผู้เยี่ยมชมขณะนี้ : 1
ผู้เยี่ยมชมวันนี้ : 53
ผู้เยี่ยมชมทั้งหมด : 233259
หมายเลขIP:3.238.174.50Feed ที่ไม่รู้จัก
Meta
Category Archives: ไม่มีหมวดหมู่
ยานวอยเอเจอร์ 2 พ้นระบบสุริยะแล้ว
ยานวอยเอเจอร์ 2 พ้นระบบสุริยะแล้ว
Posted in ไม่มีหมวดหมู่
Leave a comment
อบรมดาราศาสตร์ขั้นกลาง บนดอยอินทนนท์
1. M42 2. startrail 3. sunspot 4. MilkyWay ผมเองครับ หอดูดาวแห่งชาติ
Posted in ไม่มีหมวดหมู่
Leave a comment
ฤดูกาล (Seasons)
เกิดจากโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์โดยที่แกนของโลกเอียง 23.5° ในฤดูร้อนโลกเอียงขั้วเหนือเข้าหาดวงอาทิตย์ ทำให้ซีกโลกเหนือกลายเป็นฤดูร้อน และซีกโลกใต้กลายเป็นฤดูหนาว หกเดือนต่อมาโลกโคจรไปอยู่อีกด้านหนึ่งของวงโคจร โลกเอียงขั้วใต้เข้าหาดวงอาทิตย์ (แกนของโลกเอียง 23.5° คงที่ตลอดปี)ทำให้ซีกโลกใต้กลายเป็นฤดูร้อน และซีกโลกเหนือกลายเป็นฤดูหนาว (เพิ่มเติม) ข้อมูลจาก http://www.lesa.biz/astronomy/astro-events/seasons ข้อมูลจาก สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ
Posted in ไม่มีหมวดหมู่
Leave a comment
ยาน VOYAGER สองฝาแฝดนักท่องจักรวาล
วอยเอจเจอร์ คือยานสำรวจอวกาศแบบไม่มีคนบังคับที่เดินทางระหว่างดาวเคราะห์ ยานวอยเอจเจอร์ 2 ขึ้นสู่อวกาศเมื่อ 20 สิงหาคม ค.ศ. 1977 เป็นยานสำรวจอวกาศในโครงการวอยเอจเจอร์ ซึ่งมียานพี่อีกลำหนึ่งคือยานวอยเอจเจอร์ 1 ขึ้นสู่อวกาศเมื่อวันที่ 5 กันยายน ค.ศ. 1977
Posted in ไม่มีหมวดหมู่
Leave a comment
จีเอ็มโอ (GMOs)
จีเอ็มโอ ย่อมาจากคำภาษาอังกฤษว่า Genetically Modified Organisms (GMOs) คือ สิ่งมีชีวิตซึ่งไม่ว่าจะเป็นพืช หรือสัตว์ หรือแบคทีเรีย หรือ จุลินทรีย์ ที่ถูกดัดแปลง พันธุกรรมจากกระบวนการทาง พันธุวิศวกรรม (Genetic Engineering) โดยจากการตัดเอายีน(gene)ของสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่ง มาใส่เข้าไปในยีน(gene)ของสิ่งมีชีวิตอีกชนิดหนึ่ง โดยตามปกติไม่เคยผสมพันธุ์กันได้ในธรรรมชาติ เพื่อให้สิ่งมีชีวิตชนิดนั้น ที่มีคุณลักษณะหรือคุณสมบัติตามที่ต้องการ ซึ่งสิ่งมีชีวิตที่ถูกนำยีน(gene)มาใส่เข้าไปแล้วก็คือ จีเอ็มโอ(GMOs) ตัวอย่างเช่น ฝ้าย BT คือ ต้นฝ้ายที่ใส่ยีนของแบคทีเรีย BT เข้าไปในโครโมโซมของต้นฝ้าย ทำให้ต้นฝ้านสามารถผลิตโปรตีน BT ซึ่งเป็นสารฆ่าหนอนที่เป็นศัตรูฝ้า ปลาเรื่องแสง มะละกอ จีเอ็มโอ GMO
Posted in ไม่มีหมวดหมู่
Leave a comment